คลังเก็บป้ายกำกับ: ประเพณีและวัฒนธรรม

เที่ยวเทศกาลงานประเพณีสืบสานวัฒนธรรม

สำหรับใครที่อยากท่องเที่ยวแบบวิถีไทยๆหรืออยากไปเห็นเทศกาลต่างๆไม่ว่าจะเป็นเทศกาลงานประเพณีสืบสานวัฒนธรรมหรืออาจจะเป็นการเดินทางเพื่อไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอยู่ตามเมืองต่างๆท่านสามารถเดินทางได้ตามสถานที่ที่เราแนะนำให้ดังต่อไปนี้

งานเปิดฤดูกาลท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต 

สำหรับงานหรือเทศกาลนี้มีการจัดขึ้นที่หาดป่าตองจังหวัดภูเก็ตงานแบบนี้จะเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นชายหาดและท้องทะเลของป่าตองก็ตามและภายในงานนั้นจะมีการจัดพิธีทำบุญตักบาตรแทนการจำหน่ายสินค้าที่เป็นประเภทของภูมิปัญญาของท้องถิ่นที่เป็นของชาวบ้านและมีกิจกรรมต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นการแสดงดนตรีนาฏศิลป์หรือวัฒนธรรมต่างๆของ 4 ภาคหรืออาจจะเป็นการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านซึ่งภายในงานถือได้ว่าสนุกสนานสำหรับใครที่สนใจสามารถไปเที่ยวได้ที่ภูเก็ตเท่านั้น

ประเพณีแข่งเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน

สำหรับประเพณีนี้เป็นการจัดขึ้นที่จังหวัดบุรีรัมย์น้ำแม่น้ำมูลสำหรับก่อนการแข่งขันนั้นจะมีการแห่ขบวนอัญเชิญถ้วยพระราชทานและขบวนต่างๆอีกมากมายหลังจากนั้นจะเป็นการแข่งขันโดยมีรูปร่างแตกต่างกันไปตามขนาดของเรือสำหรับการแข่งขันนี้นอกจากการแข่งขันเรือในขนาดต่างๆแล้วยังมีการประกวดเกี่ยวกับกองเชียร์อีกด้วยจะเห็นได้ว่าการแข่งขันเรือยาวที่มีมาอย่างยาวนานของเรานั้นเรียกว่าสนุกสนานคนเชียร์ก็สนุกคนเล่นก็สนุกควบคู่กันไปนอกจากจะสานสัมพันธ์ในการจัดงานต่างๆนี้แล้วยังเป็นการทำให้สนุกและเพลิดเพลินกับเราที่บรรดามาเชียร์และมาแข่งขันอีกด้วย

งานนมัสการวัดพระธาตุดอยกองมู

จะเห็นได้ว่างานนี้จัดขึ้นในทุกๆปีและมักจะมีการจัดในช่วงของเทศกาลวันลอยกระทงสำหรับงานนี้ถือได้ว่าเป็นการสืบสานประเพณีที่ทำกันมาอย่างยาวนานกิจกรรมภายในงานนั้นจะเป็นการลอยกระทงสวรรค์และเป็นการลอยประทีปเพื่อขึ้นฟ้าจะเห็นได้ว่าความเชื่อของคนไทยโบราณนั้นพวกเขาคิดว่าจะเป็นการสะเดาะเคราะห์ได้ด้วยความคิดเหล่านี้เป็นความคิดที่แตกต่างจากภาคอื่นๆและนอกจากกิจกรรมเหล่านี้แล้วยังมีกิจกรรมที่เป็นการสรงน้ำพระของพระธาตุดอยกองมูด้วยซึ่งกิจกรรมนี้สามารถเสริมสร้างเพื่อเป็นสิริมงคลให้แก่ชีวิตของเราได้นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมต่างๆเพื่อทำให้สีสันของงานมีความสนุกสนานบันเทิงนอกจากกิจกรรมแล้วยังมีการประกวดในการแสดงพุต่างๆอีกด้วยนะ

เทศกาลเที่ยวพิมาย

เทศกาลนี้จัดขึ้นณอุทยานประวัติศาสตร์ของจังหวัดนครราชสีมาโดยมีการแสดงไม่ว่าจะเป็นสีเสียงหรือการแสดงจากโขนก็ตามการแสดงถือได้ว่ามีการแสดงที่คนข้างเยอะพอสมควรยกตัวอย่างเช่นขบวนแห่พุทธบูชา การประกวดแมวโคราช การแสดงโขนจากกรมศิลปากรเป็นต้น

สำหรับสถานที่เหล่านี้นอกจากการแสดงแล้วยังมีการแข่งเรือยาวที่เป็นไฮไลท์ของงานอีกด้วยนะ

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย  entaplay

 

ถ้ำหนอนเรืองแสง ประเทศนิวซีแลนด์

ถ้ำไวโตโมโกลว์วอร์ม หรือ ถ้ำหนอนเรืองแสง ประเทศนิวซีแลนด์

         ที่ประเทศนิวซีแลนด์ จะมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สุดแสนจะมหัศจรรย์อยู่นั่นก็คือ ถ้ำเรืองแสง  ซึ่งหากใครได้มีโอกาสได้เข้าไปเยี่ยมชมด้านในจะเหมือนกันหลุดเข้าไปในดินแดนแห่งนวนิยาย ซึ่งเป็นดินแดนแห่งความฝัน และที่ถ้ำแห่งนี้มันมีชื่อเรียกว่าถ้ำไวโตโม ซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองที่ได้มาจากการนำคำสองคำมาผสมกัน นั่นก็คือคำว่าไว ที่แปลว่าน้ำและคำว่าโตโมที่แปลว่าหลุม บ่อ หรือว่าถ้ำ

ดังนั้นเมื่อเราเอาคำทั้งสองคำนี้มารวมกัน มันจึงมีความหมายที่ว่า ถ้ำที่มีน้ำไหลผ่าน ซึ่งถ้ำแห่งนี้ถูกค้นพบครั้งแรกที่ปี ค.ศ. 1887  โดยผู้ชายชาวอังกฤษคนหนึ่งโดยมีหัวหน้าเผ่า ของเผ่าแห่งหนึ่งเป็นผู้พามาเจอถ้ำแห่งนี้ และเมื่อมีคนมาเจอครั้งแรกก็ได้นำความสวยงามแห่งนี้ไปบอกต่อต่อกัน

ว่าที่ถ้ำแห่งนี้มีความสวยงามมากแค่ไหน เพราะข้างในถ้ำเมื่อเราเข้าไปเราจะรู้สึกเหมือนกันกำลังเข้าไปจองมองดวงดาว เพราะมีความสวยงามของแสง วิบวับจับตาเลยทีเดียว แต่คุณรู้หรือไม่ว่าที่มาของความสวยงามที่เราเห็นภายในถ้ำแห่งนี้นั้น เป็นเพราะหนอนเรืองแสงนิวซีแลนด์

ซึ่งมันคือตัวการที่ทำให้ถ้ำสวยงามสว่างไสว  โดยเป็นธรรมชาติของหนอนนิวซีแลนด์ที่ตัวอ่อนจะมีการเปล่งแสงออกมาเพื่อล่อให้เยื่อเข้าไปติดกับดัก ซึ่งเหล่าตัวอ่อนทั้งหมดที่มีอยู่ในถ้ำจะพร้อมใจกันส่องแสงสว่างออกมา ทำให้ภายในถ้ำมีแสงไฟสว่างไสวสวยงามตระการตา นับว่านี่คือสิ่งมหัศจรรย์ที่ธรรมชาติสรรสร้างขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์เราได้ชมกัน และจากความสวยงามที่เกิดมาจากธรรมชาตินี่เอง

จึงทำให้เชื่อเสียงของถ้ำไวโตโม แพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง ทำให้ปัจจุบันที่นี่จะมีนักท่องเที่ยวมากมายพากันหลั่งไหลเดินทางมาที่นี่เพื่อที่จะได้มาเยี่ยมชมความงามของถ้ำแห่งนี้กันสักครั้ง โดยมีการทำสถิติเอาไว้พบว่าต่อปีที่นี่จะมีนักท่องเที่ยวมากกว่าสี่แสนคนเลยทีเดียว  สำหรับการเข้าไปเยี่ยมชมความงดงามของหนอนเรืองแสงนิวซีแลนด์ที่อยู่ภายในถ้ำนั้นจะมีเจ้าหน้าที่นำทางเข้าไปเที่ยว

โดยจะมีการนั่งเรือเข้าไป ซึ่งเจ้าหน้าที่จะพาเข้าไปดูแต่ละส่วนภายในถ้ำที่จะมีสีสันสวยงามแตกต่างกันออกไปในแต่ละจุด สำหรับการที่จะเข้าไปเยี่ยมชมความงามภายในถ้ำอาจจะต้องดูสถานการณ์ของช่วงจังหวะน้ำขึ้นน้ำลงด้วย แต่ว่ารับรองความปลอดภัยแน่นอน เพราะเจ้าหน้าทีจะคอยดูแลนักท่องเที่ยวตลอดการเดินทางในการเข้าไปเยี่ยมชมความงดงามภายในถ้ำ

 

ขอบคุณสำหรับเรื่องราวดีๆที่ให้เรานำมาเสนอโดย  sagame

ประเพณีรับ-บัวโยนบัว

     สำหรับประเพณีรับบัวโยนบัวนั้นเป็นประเพณีเก่าแก่ที่มีการจัดกันมา ตั้งแต่สมัยโบราณแล้วโดยประเพณีนี้เป็นประเพณีสำคัญของชาวจังหวัดสมุทรปราการซึ่งถือว่าเป็นประเพณีท้องถิ่นของคนอำเภอบางพลีหากต้องการทราบว่าเพลงนี้เกิดขึ้นมาตั้งแต่ยุคสมัยใดนั้นไม่สามารถบอกได้แต่ที่แน่แน่ประเพณีนี้มีมานานมากกว่า 80 ปีมาแล้วซึ่งชาวบ้านเชื่อกันว่าการจัดงานประเพณีรับบัวยนบัวนั้นเป็นการแสดงความเคารพนับถือหลวงพ่อโตหลวงพ่อโสธรและหลวงพ่อวัดบ้านแหลมสมุทรสงคราม         

       ตามความเชื่อมีการเล่าว่าก่อนหน้าที่จะมีการจัดประเพณีรับบัวโยนบัวนี้มีพระพุทธรูปซึ่งก็คือหลวงพ่อโต โดยชาวบ้านได้เราว่าพบเห็นทุกตัวรูปพลอยตามนั้นมาซึ่งรออยู่ตรงในแม่น้ำเจ้าพระยาแล้วอยู่อยู่พระพุทธรูปก็มาหยุดตรงที่ปากคลองสำโรงและไม่ลอยไปไหนอีกเลยเมื่อชาวบ้านเห็นดังนั้นจึงไปนิมนต์พระมาอัญเชิญพระพุทธรูปหลวงพ่อโตขึ้นมาอยู่บนฝั่งแล้วจึงชื่อไปไว้ในโบสถ์ซื้อตั้งแต่นั้นมาหลวงพ่อโตก็เป็นหลวงพ่อประจำจังหวัดของชาวสมุทรปราการ

     และหลังจากหลวงพ่อโตมาประดิษฐ์ฐานอยู่ที่อำเภอบางพลีแล้วชาวบ้านต่างก็รวมตัวกันจัดเทศกาลรับบัวด้วยงานนี้ชาวบ้านจะทำพระพุทธรูปจำลองซึ่งจะหมายถึงหลวงพ่อโตแล้ววางไว้เป็นบนแพหลังจากนั้นก็นำแพทีมีการจำลองหลวงพ่อโตลอยไปตามคลองซึ่งก็จะมีชาวบ้านนำดอกไม้มาโยนขึ้นบนเรือของหลวงพ่อโตด้วย

ส่วนประเพณีการรับบัวนั้นมีมาก่อนที่หลวงพ่อโตจะลอยมาอยู่ที่อำเภอบางพลี

โดยก่อนหน้านั้นว่ากันว่าที่อำเภอบางพีจะมีดอกบัวชุกชุมแล้วจะมีเยอะมากในช่วงหน้าฝนซึ่งเศร้าบ้านมักจะนำดอกบัวไปถวายพระโดยเฉพาะในช่วงออกพรรษาดังนั้นชาวบ้านจากอำเภอใกล้เคียงจึงมักจะมาขอดอกบัวกับชาวบ้านของอำเภอบางพลีซึ่งที่ใกล้กันมากที่สุดก็จะเป็นอำเภอพระประแดงโดยว่ากันว่าชาวเมืองอำเภอพระประแดงได้นำเรือรอยตามน้ำมาแล้วชาวบ้านของเพอร์บางพลีก็เก็บดอกบัวยนลงเรือของชาวอำเภอพระประแดง

เพื่อนำไป ถวายพระเพื่อหวังให้เกิดบุญกุศลร่วมกันจึงเป็นที่มาของประเพณีรับบัวซึ่งประเพณีนี้ก็ยังคงสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันอันที่จริงในปัจจุบันนี้ชาวบ้านอำเภอพระประแดงไม่ได้ต้องการดอกบัวจากชาวบ้านอำเภอบางพลีแล้วแต่เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีจึงยังคงมีการจัดกิจกรรมนี้เกิดขึ้นเรื่อยๆมาทุกปี

โดยมองว่าหากไม่กัดกิจกรรมนี้ต่อประเพณีนี้ก็จะหายไปจากสังคมไทยดังนั้นเพื่อต้องการให้ประเพณีนี้ยังคงอยู่ให้ลูกหลานได้ดูจึงมีการส่งเสริมให้มีการจัดประเพณีนี้ขึ้นทุกๆปี

ประเพณีที่มีมาตั้งแต่อดีตจนมาถึงปัจจุบัน

ประเพณีการหล่อเทียนและแห่เทียนพรรษาประเพณีที่มีมาตั้งแต่อดีตจนมาถึงปัจจุบัน

      สำหรับประเทศไทยของเรานั้นได้มีการจัดพิธีถวายเทียนพรรษา ซึ่งถือว่าเป็นพิธีใหญ่ที่ชาวบ้านจะมารวมตัวกันจัดงานนี้กันทั้งหมู่บ้านซึ่งประเพณีถือว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและยังมีการทำต่อต่อเรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสิน ถือเป็นประเพณีที่สำคัญอย่างหนึ่งของไทย

โดยขั้นตอนในการจัดทำพิธีการในประเพณีนี้คือ การนำพุ่มเทียนมาถวายและจะมีการนำโคมไฟมาจุดตามจุดต่างต่างภายในวัด ซึ่งมีการจัดกิจกรรมแบบเดียวกันนี้ทั่วทั้งประเทศ ในสมัยโบราณประเพณีนี้จะมีพระมหากษัตรคอยเป็นผู้นำในการนำเทียนไปถวายวัด และจุดพุทธประธีปตามจุดต่างต่างของวัดให้มีความสว่างไสว

แต่มาในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนกันเล็กน้อย โดยจะยังมีการนำเทียนไปถวายวัดกันอยู่ แต่จะเป็นการจัดการถวายกันเอง ตามหมู่บ้านและชุมชน ต่างต่าง โดยจะมีการกำหนดวันขึ้นมาให้ทำพิธีการถวายเทียนนี้พร้อมเพียงกันทุกวัดทั่วประเทศ ในปัจจุบันประเพณีหล่อเทียนและแห่เทียนพรรษานั้นได้มีการจัดกิจกรรมที่ยิ่งใหญ่ เพื่อเป็นการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาชมความงดงามของการจัดประเพณีดังกล่าวโดยหวังว่าจะเป็นการกระตุ้นการท่องเที่ยวของจังหวัดนั้นนั้น 

ซึ่งหนึ่งในจังหวัดที่มีการจัดงานอย่างใหญ่โตก็คือจังหวัดอุบลราชธานี โดยภายในงานก็จะมีการนำเทียนมาหล่อแล้วนำไปแกะสลักเป็นรูปร่างต่างต่างที่สวยงามแล้วนำมาแห่ขบวนบนถนน ก่อนที่จะนำเทียนดังกล่าวไปถวายวัด และภายในงานก็ยังมีการจัดกิจกรรมการละเล่นเพื่อเป็นการดึงดูดให้นักท่องเที่ยวสนใจทีจะมาอีกครั้งในปีต่อต่อไป ในสมัยอดีตกาลเราถวายเทียนพรรษาให้กับวัดเพราะพระต้องใช้เทียนเพื่อจุดส่องให้เกิดแสงสว่างเพื่อที่จะได้ปฏิบัติกิจของสงฆ์ได้ในเวลากลางคืน เช่นอาจจะมีการนั่งสมาธิ สวดมนต์ในโบสถ์

ดังนั้นพระจึงมีความจำเป็นต้องใช้เทียนในการให้แสงสว่าง แต่ปัจจุบัน วัดมีการนำไฟฟ้าเข้าไปใช้งาน คนจึงเริ่มมีการถวายหลอดไฟกับทางวัด แต่ก็ยังคงมีการจัดประเพณีถวายเทียนพรรษาอยู่ทุกปี เพื่อหวังเป็นการดึงดูดให้นักท่องเทียวมาเที่ยวมากว่าจะต้องการให้พระได้ใช้เทียนในโบสถ์จริงจริง ประเพณีหล่อเทียนและแห่งเทียนพรรษา ควรเป็นประเพณีที่ควรมีการอนุลักษณ์และสืบสานต่อต่อกันไป ให้มีการจัดประเพณีนี้ขึ้นทุกปี เพราะถึงแม้พระจะไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรจากเทียนที่มีนำไปถวายแล้ว แต่การจัดกิจกรรมประเพณีขึ้นมาก็ทำให้ประชาชนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน 

ประเพณีผีตาโขน

ประเพณีผีตาโขนเป็นความเชื่อส่วนบุคคล

ซึ่งเทศกาลผีตาโขนนี้เป็นงานแห่ผีที่ยิ่งใหญ่ซึ่งนับว่าเป็นงานบุญใหญ่และจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีของจังหวัดเลยนี้ด้วย

เทศกาลนี้จะมีการจัดขึ้นตรงกับเดือน 7 เรียกว่างานบุญหลวง และยังเป็นเทศกาลหนึ่งเดียวในโลกอีกด้วย ซึ่งท่านอาจจะเคยเห็นตามโทรทัศน์หรือสื่อต่างๆ หรืออาจจะอ่านตามข่าวที่มีการออกสื่อออนไลน์ ถึงการละเล่นผีตาโขน มีผู้คนเยอะมากต่างพากันแห่เพื่อไปดูและไปเข้าร่วมกับเทศกาลนี้ เพราะหายดูได้ยาก 1 ปีมีครั้งเดียว 

     ประเพณีสำหรับผีตาโขนนี้ถือได้ว่าเป็นของชาวอีสาน ซึ่งเป็นประเพณีของชาวด่านซ้าย และในทุกปีพวกเขานั้นจะตั้งหน้าตั้งตารอการจัดงานอย่างใหญ่โต ซึ่งการจัดงานนี้จะมีขึ้นได้กันอยู่3วันซึ่งหากอยากรู้ประวัติและความเป็นมาของประเพณีนี้ มีการพูดต่อๆมาว่าประเพณีนี้มีมานานนับร้อยปีได้

ผีตาโขน เดิมมีชื่อเรียกว่าผีตามคน เนื่องจากได้รับอิทธิพลมาจากเรื่องมหาเวชสันดรนั่นเองสำหรับวิธีการเล่นผีตาโขนนั้น จะมีการทำหน้ากากเป็นรูปหน้าผีต่างๆ เป็นการทำให้ออกมาน่าเกลียดและน่ากลัว เพื่อเป็นการนำมาใส่เพื่อเป็นการปิดบังใบหน้าของตน และในการใส่เสื้อผ้าหุ้มห่อร่างกายนั้นจะต้องใส่เสื้อผ้าอย่างปิดให้มิดชิด แล้วจึงค่อยมาเดินขบวนร่วมกัน โดยในการเดินนั้นจะต้องแสดงท่าทางต่างๆเพื่อเป็นการกระกอบการเดินแห่อีกด้วย 

ในงานพิธีวันแรกที่มีการจัดงาน เหล่าชาวบ้านระแวกนั้นและคนอท่นๆที่มาร่วมงานจะช่วยกันสร้างหออุปคุต และจะทำกระทงใบที่ไม่ใหญ่มากไปวางตามสถานที่และทิศต่างๆ เป็นจำนวน 4 ทิศ บนหอหลวงด้วยกัน

 การทำพิธีในวันที่สอง จะเป็นการทำพิธีด้วยการแห่พระเวสสันดร ซึ่งจะมีเหล่าบรรดาที่มาร่วมงานพิธีนี้จะมาเพื่อช่วยในการหามแคร่และในขบวนการแห่นั้นประกอบการแห่ในครั้งนั้นจะมี พระพุทธรูป  1องค์ พระสงค์ 4 รูป มาร่วมในการแห่ครั้งนี้ด้วย ต่อจากนั้นจะมีขบวนเจ้าพ่อกวนอยู่ที่กระบอกบั้งไฟอีกด้วยนะ ซึ่งต่อจากขบวนเจ้าพ่อแล้วก็ยังมีขบวนของเจ้าแม่นางเทียมและบริวารของเจ้าแม่อีกด้วย ต่อจากนั้นจะเป็นขบวนของชาวบ้านและผีตาโขนทั้งหลาย 

ซึ่งในการแห่ทุกคนนั้นจะทำการร่ายรำแสดงอาการและท่าทางอย่างสนุกสนานในการเดินขบวนการแห่ ซึ่งในการแห่นั้นจะมีดนตรีเล่นตลอดทาง ซึ่งเส้นทางนั้นจะเป็นการแห่ไปยังวัดเพื่อเป็นการแห่ไปรับการทำบายศรีสู่ขวัญนั่นเองสำหรับผู้ที่มาร่วมงานจะสามารถนำบั้งไฟมาเล่นในงานได้

สำหรับการแห่ขบวนผีตาโขนนี้จะมีการแห่ด้วยวิธีการเดินไปรอบเมืองและต้องเดินก่อนที่ตะวันจะตกดินและเรื่องสำคัญสุดนั้นสำหรับคนที่ใส่ชุดเป็นผีตาโขนที่ใหญ่สุดจะต้องทำการถอดชุดของผีตาโขนออกทั้งหมดและนำชุดเหล่านั้นลงไปทิ้งที่แม่น้ำ เพราะมีความเชื่อเกี่ยวกับชุดเหล่านี้ห้ามนำกลับบ้านเป็นอันขาด เพราะถือว่ามันไม่ดีนั่นเอง

พิธีการแห่วันที่สาม สำหรับวันนี้ทางคนที่มาร่วมงานจะพากันมาทำบุญตักบาตร เพื่อเป็นการอุทิศส่วนบุญให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง จะมีการฟังเทศน์ที่เป็นการเทศน์ของมหาชาติ และเป็นการเทศน์ของพระเวสสันดรชาดก 13 กัณฑ์ ณะที่วัดโพนชัยเพื่อเป็นการสร้างบุญกุศลและความเป็นสิริมงคลที่ดีแก่ชีวิตนั่นเอง